สรุปวิจัย
(YOUNG CHILDREN’S SCIENCE PROCESS SKILLS LEARNING EXPERIENCING SCHOOL BOTANIC GARDEN MODEL)
ผู้วิจัย : ศศิธร รณะบุตร (SASITHRN RANABUT)
การวิจัยครั้งนี้มุงศึกษาผลของการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนที่มีตอทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย
เพื่อเปนแนวทางในการใชวิธีการสอนและการจัดกิจกรรมใหครูและผูที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยรวมทั้งสงเสริมพัฒนาการและศักยภาพของเด็กปฐมวัยไดอยางถูกตองและเหมาะสม โดยมีลําดับขั้นตอนในการศึกษาและผลการศึกษาคนควา ดังตอไปนี้
ความมุงหมายของการวิจัย เพื่อเปนแนวทางในการใชวิธีการสอนและการจัดกิจกรรมใหครูและผูที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยรวมทั้งสงเสริมพัฒนาการและศักยภาพของเด็กปฐมวัยไดอยางถูกตองและเหมาะสม โดยมีลําดับขั้นตอนในการศึกษาและผลการศึกษาคนควา ดังตอไปนี้
ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดตั้งความมุงหมายไวดังนี้
1. เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนกรายทักษะ กอนและหลังการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนกรายทักษะ กอนและหลังการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
สมมุติฐานในการวิจัย
เด็กปฐมวัยหลังจากที่ไดรับการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรม
สวนพฤกษศาสตรโรงเรียนจะมีการเปลี่ยนแปลงของทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรแตกตางจากกอนการจัดกิจกรรม
ขอบเขตของการวิจัย
ประชากร
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชาย–หญิง ที่มีอายุ 5–6 ปซึ่งกําลังศึกษา
อยูชั้นอนุบาลศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย จํานวน 30 คน
การเลือกกลุ่มตัวอยาง
กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ นักเรียนชาย–หญิง ที่มีอายุ 5–6 ปซึ่งกําลังศึกษา
อยูชั้นอนุบาลศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โดยวิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) โดยการจับสลากนักเรียน
ชั้นอนุบาลปที่ 3 มา 1 หองเรียน จากจํานวนหองเรียนทั้งหมด 2 หองเรียน จํานวน 30 คน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ
1. แผนการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
2. แบบทดสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
วิธีดําเนินการทดลอง
การวิจัยครั้งนี้ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 เปนเวลา 8 สัปดาห สัปดาหละ 3 วัน คือ วันละประมาณ 40 นาทีรวม 24 ครั้ง โดยบูรณาการในชวงกิจกรรมเสริมประสบการณโดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ผูวิจัยสรางความคุนเคยกับกลุมตัวอยางเปนเวลา 1 สัปดาห
2. ผูวิจัยทําการทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย (Pretest) กอนการทดลองจากนั้นนํามาตรวจใหคะแนนตามเกณฑและเก็บคะแนนไวเปนหลักฐาน
3. ผูวิจัยทําการทดลองดวยแผนการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรม
สวนพฤกษศาสตรโรงเรียนที่ผูวิจัยสรางขึ้นและบันทึกพฤติกรรมการเรียนรูระหวางและหลังการจัดประสบการณ
4. หลังจากการทดลองผูวิจัยทําการทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย (Posttest) หลังการทดลองซึ่งใชแบบทดสอบชุดเดียวกันกับที่ใชในการทดสอบกอนการทดลอง
5. นําขอมูลที่ใชไดจากการทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยไป
วิเคราะหขอมูลดวยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมุติฐานและสรุปผลการทดลอง
การวิเคราะห์ขอมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลไดดําเนินการดังนี้
1. หาคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2. วิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยกอนและหลังการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนสําหรับเด็กปฐมวัย เพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและรายทักษะ โดยใช้คาแจกแจง t แบบ Dependent Samples
สรุปผลการวิจัย
1. ระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนกรายทักษะสูงขึ้นกวากอนการจัดประสบการณตามแนวคิดรูปแบบกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
2. ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนกรายทักษะ แตกตางจาก
กอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีคาเฉลี่ยสูงขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น